เลือกดูรายการ (8 ทั้งหมด)

  • ป้ายกำกับ: เฟซบุ๊ก

กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไต้หวันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ก

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กลยุทธิ์การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวใต้หวันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ก 2) พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กในการวางเเผนเเละตัดสินใจท่องเที่ยวใต้หวันของกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย เเละ 3)…

อิทธิพลของการโฆษณาในเฟซบุ๊ก แฟนเพจที่มีเนื้อหาทางด้านความรักต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค

1970-3935-1-SM (1).pdf
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการโฆษณาในเฟซบุ๊ก แฟนเพจที่มีเนื้อหาทางด้านความรักต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ…

พฤติกรรมการสื่อสาร การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจต่อเว็บไซต์เครือข่ายสังคมเฟซบุ๊ค (Facebook) ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสื่อสารทางเว็บไซต์เครือข่าย Facebook ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์เครือข่ายสังคม Facebook ของประชาชนในกรุงเทพฯ 3)…

การวิเคราะห์เนื้อหาการหาเสียงเลือกตั้งปี พ.ศ. 2554 ผ่านเฟซบุ๊กดอทคอม

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบททางสังคมและปัจจัยที่มีผลต่อการใช้เฟซบุ๊กดอทคอมของนางสาว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และนายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ รวมถึงศึกษากระบวนการสื่อสารทางการเมืองในช่วงหาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปีพศ. 2554…

การใช้เฟซบุ๊คเป็นช่องทางการสื่อสารการเรียนการสอนทางด้านนิเทศศาสตร์

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบละการวิจัย ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ Facebook เป็นช่องทางการสื่อสารการเรียนการสอนด้าน…

กระบวนการทำการตลาดเชิงเนื้อหาของเฟซบุ๊กทางการสโมสรลิเวอร์พูล สำหรับประเทศไทย กับการสร้างความผูกพัน และความภักดีต่อสโมสรลิเวอร์พูล

114588-Article Text-568668-1-10-20190529.pdf
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการตลาดเชิงเนื้อหาของเฟซบุ๊กทางการสโมสรลิเวอร์พูล สำหรับประเทศไทย กับความผูกพันต่อสโมสรลิเวอร์พูล และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความผูกพันกับความภักดีต่อสโมสรลิเวอร์พูล…

การวิเคราะห์ภาพในการหาเสียงเลือกตั้ง ปี พ.ศ. 2554 ผ่านเว็บไซต์เฟซบุ๊กดอทคอม

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบททางสังคมและปัจจัยที่มีผลต่อการใช้เฟซบุ๊กดอทคอมของนางสาว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และนายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ รวมถึงศึกษากระบวนการสื่อสารทางการเมืองในช่วงหาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปีพศ. 2554…